วิธีแสดงอาบัติ
(พรรษาอ่อนว่า) สัพพา ตา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโย
อาปัชชิง ตา ตุม๎หะ มูเล ปะฏิเทเสมิ
( พรรษาแก่ว่า) ปัสสะสิ อาวุโส ตา อาปัตติโย
( พรรษาอ่อนว่า) อุกาสะ อามะ ภันเต ปัสสามิ
( พรรษาแก่ว่า) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ
( พรรษาอ่อนว่า) สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ
( พรรษาแก่ว่า) สัพพา ตา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโย
อาปัชชิง ตา ตุย๎หะ มูเล ปะฏิเทเสมิ
( พรรษาอ่อนว่า) อุกาสะ ปัสสะถะ ภันเต ตา อาปัตติโย
( พรรษาแก่ว่า) อามะ อาวุโส ปัสสามิ
( พรรษาอ่อนว่า) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ
(พรรษาแก่ว่า) สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ ฯ
วิธีแสดงอาบัติ (ปลงอาบัติ) แปล
(พรรษาอ่อนว่า) สัพพาตา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ๓ หน)
- ขอแจ้งให้ทราบว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว.
สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ๓ หน)
- อาบัติเหล่านั้น เป็นอาบัติหนักเบา หลายตัว.
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโย
อาปัชชิงตา ตุม๎หะ มูเลปะฏิเทเสมิ ,
- ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว ต่างวัตถุกัน ข้าพเจ้าขอแสดงอาบัตินั้น.
(พรรษาแก่ว่า) ปัสสะสิ อาวุโส ตา อาปัตติโย ,
- เธอเห็น อาบัตินั้น หรือ ?
(พรรษาอ่อนว่า) อุกาสะ อามะ ภันเต ปัสสามิ ,
- ใช่! ข้าพเจ้าเห็น.
(พรรษาแก่ว่า) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ ,
- เธอพึงสำรวมระวังต่อไป.
(พรรษาอ่อนว่า) สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ ,
- ดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.
ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ ,
- แม้วาระที่สองดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.
ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ ,
- แม้วาระที่สามดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ ,
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมกายไว้ด้วยดี.
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ ,
-นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมวาจาไว้ด้วยดี.
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ.
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมใจไว้ด้วยดี.
(พรรษาแก่ว่า) สัพพาตา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
- ขอแจ้งให้ทราบว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว.
สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
- อาบัติเหล่านั้น เป็นอาบัติหนักเบา หลายตัว.
อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย
อาปัตติโย อาปัชชิงตา ตุย๎หะ มูเลปะฏิเทเสมิ ,
- ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว ต่างวัตถุกัน , ข้าพเจ้าขอแสดงอาบัตินั้น.
(พรรษาอ่อนว่า) อุกาสะ ปัสสะถะ ภันเต ตา อาปัตติโย
- เธอเห็น อาบัตินั้น หรือ ?
(พรรษาแก่ว่า) อามะ อาวุโส ปัสสามิ ,
- ใช่! ข้าพเจ้าเห็น.
(พรรษาอ่อนว่า) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ ,
- เธอพึงสำรวมระวังต่อไป.
(พรรษาแก่ว่า) สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ ,
- ดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.
ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ ,
- แม้วาระที่สองดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.
ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ ,
- แม้วาระที่สามดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ ,
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมกายไว้ด้วยดี.
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ ,
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมวาจาไว้ด้วยดี.
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ.
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมใจไว้ด้วยดี.
กิจวัตร ๑๐ อย่าง
๑. ลงอุโบสถ
๒. บิณฑบาตเลี้ยงชีพ
๓. สวดมนต์ไหว้พระ
๔. กวาดอาวาสวิหารลานพระเจดีย์
๕. รักษาผ้าครอง
๖. อยู่ปริวาสกรรม
๗. โกนผมปลงหนวดตัดเล็บ
๘. ศึกษาสิกขาบทและปฏิบัติพระอาจารย์
๙. เทศนาบัติ
๑๐. พิจารณาปัจจเวกขณะทั้ง ๔ เป็นต้น
กิจวัตร ๑๐ เหล่านี้เป็นกิจใหญ่ควรที่ภิกษุจะต้องศึกษาให้ทราบความชัด
และจำไว้เพื่อปฏิบัติสมควรแก่สมณสารูปแห่งตน ฯ
0 ความคิดเห็น